001 คิริมานนทสูตร แปล 002 ในอังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต เล่ม ๒๔ หน้า ๑๑๕ ถึงหน้า ๑๒๐ 003 ในพระสุตตันตปิฎกฉบับใหม่ 004 เอวมฺเม สุตํ ข้าพเจ้าได้ฟังมาแล้วอย่างนี้ 005 เอกํ สมยํ ภควา สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาค 006 สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน ประทับอยู่ที่เชตวันวิหาร ซึ่งเป็น 007 อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม อารามของอนาถปิณฑิกคฤหบดี ณ 008 กรุงสาวัตถี 009 เตน โข ปน สมเยน ก็ในสมัยนั้นพระคิริมานนท์ผู้มีอายุ 010 อายสฺมา คิริมานนฺโท 011 อาพาธิโก โหติ ทุกฺขิโต เป็นผู้อาพาธ ประกอบด้วยทุกข- 012 พาฬฺหคิลาโน เวทนาเป็นไข้หนัก 013 อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ลำดับนั้นพระอานนท์ผู้มีอายุ 014 เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ พระผู้มีพระภาคเสด็จอยู่ในที่ใด ก็ 015 เข้าไปเฝ้าในที่นั้น 016 อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว จึงถวายบังคม 017 อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ พระผู้มีพระภาคนั่ง ณ ที่ควรส่วน 018 ข้างหนึ่ง 001 เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข เมื่อพระอานนท์ผู้มีอายุนั่ง ณ ที่ 002 อายสฺมา อานนฺโท ภควนฺตํ ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว กราบทูล 003 เอตทโวจ พระผู้มีพระภาคว่า 004 อายสฺมา ภนฺฌต คิริมานนฺโท ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระคิริ- 005 มานนท์ผู้มีอายุ 006 อาพาธิโก โหติ ทุกฺขิโต เป็นผู้อาพาธ ประกอบด้วยทุกข- 007 พาฬฺหคิลาโน เวทนาเป็นไข้หนัก 008 สาธุ ภนฺเต ภควา ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดีแล้ว ขอ 009 เชิญพระผู้มีพระภาค 010 เยนายสฺมา คิริมานนฺโท พระคิริมานนท์ผู้มีอายุ อยู่ในที่ใด 011 เตนุปสงฺกมตุ อนุกมฺปํ จงทรงอาศัยพระกรุณาเสด็จไปที่นั้น 012 อุปาทาย [พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า] 013 สเจ โข ตฺวํ อานนฺท ดูก่อนอานนท์ ถ้าว่าเธอ 014 คิริมานนฺทสฺส ภิกฺขุโน พึงไปหาแล้วแสดงสัญญา ๑๐ ประ 015 อุปสงฺกมิตฺวา ทส สญฺา การแก่ภิกษุคิริมานนท์ไซร้ 016 ภาเสยฺยาสิ 017 €านํ โข ปเนตํ วิชฺชติ ยํ ข้อนี้เป็นเหตุที่จะให้อาพาธ [ความ 018 คิริมานนฺทสฺส ภิกฺขุโน ทส เจ็บ] ของคิริมานนท์ภิกษุผู้นั้น 019 สญฺา สุตฺวา โส อาพาโธ สงบระงับโดยเร็วพลัน เพราะ 020 €านโส ปฏิปสฺสมฺเภยฺย ได้ฟังสัญญา ๑๐ 001 กตมา ทส สัญญา ๑๐ อะไรบ้าง 002 อนิจฺจสญฺา ความจำหมายว่าไม่เที่ยง ๑ 003 อนตฺตสญฺา ความจำหมายว่าไม่ใช่ตัวตน ๑ 004 อสุภสญฺา ความจำหมายว่าไม่งาม ๑ 005 อาทีนวสญฺา ความจำหมายว่าเป็นโทษ ๑ 006 ปหานสฺา ความจำหมายในการละ ๑ 007 วิราคสญฺา ความจำหมายในธรรมอันปราศจาก 008 ราคะ ๑ 009 นิโรธสญฺา ความจำหมายในธรรมเป็นที่ดับ ๑ 010 สพฺพโลเก อนภิรตสญฺา ความจำหมายความไม่ยินดีในโลก 011 ทั้งปวง ๑ 012 สพฺพสงฺขาเรสุ อนิจฺจสญฺา๑ ความจำหมายความไม่ปรารถนา 013 ในสังขารทั้งปวง ๑. 014 ๑. กตมา จานนฺท ดูก่อนอานนท์ อนิจจสัญญาเป็น 015 อนิจฺจสญฺา ไฉนเล่า ? 016 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 017 อรญฺคโต วา ไปที่ป่าก็ตาม 018 รุกฺขมูลคโต วา ไปที่โคนไม้ก็ตาม ๑. ท่านว่าควรจะเป็นอนิจฺจสญฺา หรืออนิฏฺ€สญฺา แต่ยังหาหลักฐานไม่ได้แน่นอนลงไป. 001 สุญฺาคารคโต วา ไปที่เรือนว่างเปล่าก็ตาม 002 อิติ ปฏฺสญฺจิกฺขติ ย่อมพิจารณาอย่างนี้ว่า 003 รูปํ อนิจฺจํ รูปไม่เที่ยง 004 เวทนา อนิจฺจา เวทนาไม่เที่ยง 005 สญฺา อนิจฺจา สัญญาไม่เที่ยง 006 วิญฺาณํ อนิจฺจํ สังขารไม่เที่ยง 007 อิติ อิเมสุ ปญฺจสุ อุปาทานกฺ- ย่อมเป็นผู้พิจารณาเนือง ๆ โดย 008 ขนฺเธสุ อนิจฺจานุปสฺสี วิหรติ ความไม่เที่ยง ในอุปาทานขันธ์ 009 ทั้ง ๕ อย่าง 010 อยํ วุจฺจตานนฺท อนิจฺจสญฺา ดูก่อนอานนท์ อันนี้ [เรา] กล่าว 011 ว่า อนิจจสัญญา. 012 ๒. กตมา จารนนฺท ดูก่อนอานนท์ อนัตตสัญญาเป็น 013 อนตฺตสญฺา ไฉนเล่า ? 014 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 015 อรญฺคโต วา ไม่ที่ป่าก็ตาม 016 รุกฺขมูลคโต วา ไม่ที่เรือนว่างเปล่าก็ตาม 017 อิติ ปฏิสญฺจิกฺขติ ย่อมพิจารณาอย่างนี้ว่า 018 จกฺขุ อนตฺตา ตาไม่ใช่ตัวตน 019 รูปํ อนตฺตา รูปไม่ใช่ตัวตน 001 โสตํ อนตฺตา หูไม่ใช่ตัวตน 002 สทฺทา อนตฺตา เสียงไม่ใช่ตัวตน 003 ฆานํ อนตฺตา จมูกไม่ใช่ตัวตน 004 คนฺธา อนตฺตา กลิ่นไม่ใช่ตัวรน 005 ชิวฺหา อนตฺตา ลิ้นไม่ใช่ตัวตน 006 รสา อนตฺตา รสไม่ใช่ตัวตน 007 กาโย อนตฺตา กายไม่ใช่ตัวตน 008 โผฏฺ€พฺพา อนตฺตา สิ่งที่พึงถูกต้องได้ด้วยกายไม่ใช่ตัว 009 ตน 010 มโน อนตฺตา ใจไม่ใช่ตัวตน 011 ธมฺมา อนตฺตา เรื่องที่รู้ได้ด้วยใจไม่ใช่ตัวตน 012 อิติ อิเมสุ ฉสุ อชฺฌตฺติกพาหิเรสุ ย่อมเป็นผู้พิจารณาเนือง ๆ โดย 013 อายตเนสุ อนตฺตานุปสฺสี วิหรติ ความไม่ใช่ตัวตน ในอายตนะทั้ง 014 ภายในและภายนอก ๖ อย่างนี้ 015 อยํ วุจฺจตานนฺท อนตฺตสญฺา ดูก่อนอานนท์ อันนี้ [เรา] กล่าว 016 ว่า อนัตตสัญญา. 017 ๓. กตมา จานนฺท ดูก่อนอานนท์ อสุภสัญญาเป็น 018 อสุภสญฺา ไฉนเล่า ? 019 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 001 อิมเมว กายํ อุทฺธํ ปาทตลา ย่อมพิจารณากายนี้แล ข้างบน 002 อโธ เกสมตฺถกา ตจปริยนฺตํ แต่พื้นเท้าขึ้นไป ข้างล่างแต่ปลาย 003 ปูรนฺนานปฺปการสฺส อสุจิโน ผมลงมา มีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ 004 ปจฺจเวกฺขติ เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการ 005 ต่าง ๆ ว่า 006 อตฺถิ อิมสฺมึ กาเย มีอยู่ในกายนี้ 007 เกสา ผม 008 โลมา ขน 009 นขา เล็บ 010 ทนฺตา ฟัน 011 ตโจ หนัง 012 มํสํ เนื้อ 013 นหารู เอ็น 014 อฏฺ€ี กระดูก 015 อฏฺ€ิมิฺชํ เยื่อในกระดูก 016 วกฺกํ ไต 017 หทยํ หัวใจ 018 ยกนํ ตับ 019 กิโลมกํ พังผืด 020 ปิหกํ ม้าม 021 ปปฺผาสํ ปอด 001 อนฺตํ ไส้ใหญ่ 002 อนฺตคุณํ ไส้ทบ 003 อุทริยํ อาหารใหม่ 004 กรีสํ อาการเก่า 005 ปิตฺตํ น้ำดี 006 เสมฺหํ น้ำเสลด 007 ปุพฺโพ น้ำเหลือง 008 โลหิตํ น้ำเลือด 009 เสโท น้ำเหงื่อ 010 เมโท น้ำมันข้น 011 อสฺสุ น้ำตา 012 วสา น้ำมันเหลว 013 เขโฬ น้ำลาย 014 สิงฺฆาณิกา น้ำมูก 015 ลสิกา น้ำไขข้อ 016 มุตฺตํ น้ำมูตร 017 อิติ อิมสฺมึ กาเย อสุภานุปสฺสี ย่อมเป็นผู้พิจารณาเนือง ๆ โดย 018 วิหรติ ความเป็นของไม่งามในกายนี้ 019 อย่างนี้ 020 อยํ วุจฺจตานนฺท อสุภสญฺา ดูก่อน อานนท์ อันนี้ [เรา] 021 กล่าวว่า อสุภสัญญา. 001 ๔. กตมา จานนฺท ดูก่อนอานนท์ อาทีนวสัญญาเป็น 002 อาทีนวสญฺา ไฉนเล่า ? 003 อิธานนิท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 004 อรญฺโตโต วา ไปที่ป่าก็ตาม 005 รุกฺขมูลคโต วา ไปที่โคนไม้ก็ตาม 006 สุญฺาคารคโต วา ไปที่เรือนว่างเปล่าก็ตาม 007 อิติ ปฏิสญฺจิกฺขติ ย่อมพิจารณาอย่างนี้ว่า 008 พหุทุกฺโข โข อยํ กาโย กายอันนี้แลมีทุกข์มาก 009 พหุอาทีนโว มีโทษมาก 010 อิติ อิมสฺมึ กาเย วิวิธา เหล่าอาพาธ [ความเจ็บไข้] ต่าง ๆ 011 อาพาธา อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้นในกายนี้ อย่างนี้ 012 เสยฺยถีทํ อาพาธเหล่านั้น คืออะไรบ้าง ? 013 จกฺขุโรโค คือ โรคในตา 014 โสตโรโค โรคในหู 015 ฆานโรโค โรคในจมูก 016 ชิวฺหาโรโค โรคในลิ้น 017 กายโรโค โรคในกาย 018 สีสโรโค โรคในศีรษะ 019 กณฺณโรโค โรคในหู 020 มุขโรโค โรคในปาก 021 ทนฺตโรโค โรคในฟัน 001 กาโส ไอ 002 สาโส หืด 003 ปินาโส หวัด 004 ฑโห ไข้พิษ 005 ชโร ไข้เชื่อม 006 กุจฺฉิโรโค โรคในท้อง 007 มุจฺแา ลมจับ [หรือสลบ หรือสวิงสวาย] 008 ปกฺขนฺทิกา โรคบิด [หรือ อุจจารธาตุ] 009 สุลา จุกเสียด [หรือตะคริว] 010 วิสูจิกา โรคลงราก 011 กุฏฺ€ํ โรคเรื้อน 012 กิลาโฑ ฝี 013 กิลาโส โรคกลาก 014 โสโส มองคร่อ 015 อปมาโร ลมบ้าหมู 016 ทณฺฑุ หิดเปื่อย 017 กณฺฑุ หิดด้าน 018 กจฺฉุ คุดทะราดหูด 019 รขสา ละลอก 020 วิตจฺฉิกา คุดทะราดบอน 021 โลหิตํ อาเจียนโลหิต 001 ปิตฺตํ โรคดีเดือด 002 มธุเมโห โรคปัสสาวะหวาน 003 อํสา เริม 004 ปีฬกา พุพอง 005 ภคณฺฑลา ริดสีดวง 006 ปิตฺตสมุฏฺ€านา อาพาธา ความเจ็บ มีดีเป็นสมุฏฐาน 007 เสมฺหสมุฏฺ€านา อาพาธา ความเจ็บมีเสมหะเป็นสมุฏฐาน 008 วาตสมุฏฺ€านา อาพาธา ความเจ็บมีลมเป็นสมุฏฐาน 009 สนฺนิปาติา อาพาธา ไข้สันนิบาต [คือความเจ็บที่เกิด 010 แต่ดีเสมหะและลมทั้ง ๓ เจือกัน] 011 อุตุปริณามชา อาพาธา ความเจ็บเกิดแก่ฤดูแปรปรวน 012 วิสมปริหารชา อาพาธา ความเจ็บเกิดแต่ความผลัดเปลี่ยน 013 อิริยาบถไม่สม่ำเสมอ 014 โอปกฺกมิกา อาพาธา ความเจ็บเกิดแต่ความเพียรกล้า๑ 015 กมฺมวิปากชา อาพาธา ความเจ็บเกิดแก่วิบากของกรรม 016 สีตํ เย็น 017 อุณฺหํ ร้อน 018 ชิฆจฺฉา หิวข้าว 019 ปิปาสา ระหายน้ำ ๑. นี้แปลตามนัยพระบาลีที่ตรัสเล่าถึงการทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาทุกแห่งว่า. . . โอกูกมิกา ทุกฺขา ติปฺปา . . . 001 อุจฺจาโร อุจจาระ 002 ปสฺสาโว ปัสสาวะ 003 อิติ อิมสฺมึ กาเย อาทีนวานุปสฺสี ย่อมเป็นผู้พิจารณาเนือง ๆ โดย 004 วิหรติ ความเป็นโทษในกายนี้ อย่างนี้ 005 อยํ วุจฺจตานนฺท อาทีนวสญฺา ดูก่อนอานนท์ อันนี้ [เรา] กล่าว 006 ว่า อาทีนวสัญญา. 007 ๕. กตมา จานนฺท ดูก่อนอานนท์ ปหานสัญญาเป็น 008 ปหานสญฺา ไฉนเล่า ? 009 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 010 อุปฺปนฺนํ กามวิตกฺกํ นาธิวาเสติ ย่อมไม่รับไว้ ย่อมสละเสีย ย่อม 011 ปชหติ วิโนเทติ พฺยนฺตีกโรติ ถ่ายถอน ย่อมทำให้พินาศ ย่อม 012 อนภาวํ คเมติ ทำไม่ให้เกิดอีกต่อไป ซึ่งกามวิตก 013 [ความตรึกด้วยความกำนัดยินดี 014 ในกามารมณ์] ที่เกิดขึ้นแล้ว 015 อุปฺปนฺนํ พฺยาปาทวิตกฺกํ ย่อมไม่รับไว้ ย่อมละเสีย ย่อม 016 นาธิวาเสติ ปชหติ วิโนเทติ ถ่ายถอน ย่อทำให้พินาศ ย่อม 017 พฺยนฺตีกโรติ อนภาวํ คเมติ ทำไม่ให้เกิดอีกต่อไป ซึ่งพยาบาท 018 วิตก [ความตรึกในความล้างผลาญ 019 สัตว์] ที่เกิดขึ้นแล้ว 001 อุปฺปนฺนํ วิหึสาวิตกฺกํ นาธิวาเสติ ย่อมไม่รับไว้ ย่อมละเสีย ย่อม 002 ปชหติ วิโนเทติ พฺยนฺตีกโตติ ถ่ายถอน ย่อมทำให้พินาศ ย่อมทำ 003 อนภาวํ คเมติ ไม่ให้เกิดอีกต่อไป ซึ่งวิหิงสาวิตก 004 ความตรึกด้วยความหลงสนุก 005 เพลิดเพลินในความเบียดเบียน 006 สัตว์ ที่เกิดขึ้นแล้ว 007 อุปฺปนฺนุปฺปนฺเน ปาปเก ย่อมไม่รับไว้ ย่อมละเสีย ย่อม 008 อกุสเล ธมฺเม นาธิวเสติ ถ่ายถอน ย่อมทำให้พินาศ ย่อม 009 ปชหติ วิโนเทติ พฺยนฺตีกโรติ ทำไม่ให้เกิดอีกต่อไป ซึ่งเหล่า 010 อนภาวํ คเมติ ธรรมอันเป็นบาปเป็นอกุศลที่เกิด 011 ขึ้นแล้วและเกิดขึ้นแล้ว 012 อยํ วุจฺจตานนฺท ปหานสญฺา ดูก่อนอานนท์ อันนี้ [เรา] 013 กล่าวว่า ปหานสัญญา. 014 ๖. กตมา จานนฺท ดูก่อนอานนท์ วิราคสัญญาเป็น 015 วิราคสญฺา ไฉนเล่า ? 016 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 017 รุกฺขมูลคโต วา ไปที่ป่าก็ตาม 018 สุญฺาคารคโต วา ไปที่โคนไม้เปล่าก็ตาม 019 อิติ ปฏิสญฺจิกฺขติ ย่อมพิจารณาอย่างนี้ว่า 020 เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ธรรมชาตินั้นละเอียด ธรรมชาติ 001 นั้นประณีต 002 ยทิทํ ธรรมชาตินั้น คืออะไร ? 003 สพฺพสงฺขารสมโถ คือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง 004 สพฺพุปธิปฏินิสฺสคฺโค เป็นที่ส่งคืนอุปธิทั้งปวง 005 คณฺหกฺขโย เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา 006 วิราโค เป็นที่สำรอกกิเลสเป็นเครื่องย้อมจิต 007 นิพฺพานํ เป็นที่ดับกิเลสและทุกข์ 008 อยํ วุจฺจตานนฺท วิราคสญฺา ดูก่อนอานนท์ อันนั้น [เรา] กล่าว 009 ว่า วิราคสัญญา. 010 ๗. กตมา จานนฺท ดูก่อนอานนท์ นิโรธสัญญา เป็น 011 นิโรธสญฺา ไฉนเล่า ? 012 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 013 อรญฺคโต วา ไปที่ป่าก็ตาม 014 รุกฺขมูลคโต วา ไปที่โคนไม้ก็ตาม 015 สุญฺาคารคโต วา ไปที่เรือนว่างเปล่าก็ตาม 016 อิติ ปฏิสญฺจิกฺขติ ย่อมพิจารณาอย่างนี้ 017 เอตํ สนฺตํ เอตํ ปณีตํ ธรรมชาตินั้นละเอียด ธรรมชาติ 018 นั้นประณีต 019 ยทิทํ ธรรมชาตินั้น คืออะไร ? 020 สพฺพสงฺขารสมโถ คือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง 001 สพฺพุปธิปฏินิสฺสคฺโค เป็นที่ส่งคืนอุปธิทั้งปวง 002 ตณฺหกฺขโย เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา 003 นิโรโธ เป็นที่ดับทุกข์สนิท 004 นิพฺพานํ เป็นที่ดับกิเลสและทุกข์ 005 อยํ วุจฺจตานนฺท นิโรธสญฺา ดูก่อนอานนท์ อันนี้ [เรา] 006 กล่าวว่า นิโรธสัญญา. 007 ๘. กตมา จานนฺท ดูก่อนอานนท์ สัพพโลเกอนภิรต- 008 สพฺพโลเก อนภิรตสญฺา สัญญา เป็นไฉนเล่า ? 009 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 010 เย โลเก อุปายุปาทานา อุ๑บายเป็นเหตุถือมั่นเหล่าใดในโลก 011 เจตโส อธิฏฺ€านาภินิเวสานุสยา มีความถือมั่นด้วยความตั้งจิตไว้ 012 เป็นอนุสัย 013 เต ปชหนฺโต วิรมติ น ละอุบายเป็นเหตุถือมั่นเหล่านั้น 014 อุปาทิยนฺโต เสียไม่ถือมั่น ย่อมงดเว้นเสีย 015 อยํ วุจฺจตานนฺท สพฺพโลเภ ดูก่อนอานนท์ อันนี้ [เรา] 016 อนภิรตสญฺา กล่าวว่า สัพพโลเกอนภิรตสัญญา. 017 ๙. กตมา จานนฺท ดูก่อนอานนท์ สัพพสังขาเรสุ- 018 สพฺพสงฺขาเรสุ อนิจฺจสญฺา อนิจจสัญญา เป็นไฉนเล่า ? 019 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ๑. ตามนัยอรรถกถาแห่งหนึ่งว่า ความพัวพันและความถือมั่น เหล่าใดในโลก ซึ่งเป็นความ ตั้งใจยึดไว้และนอนเนื่องของจิต. 001 สพฺพสงฺขาเรหิ อฏฺฏิยติ ย่อมเบื่อหน่าย ย่อมระอา ย่อม 002 หรายติ ชิคุจฺฉติ เกลียดชังแต่สังขารทั้งปวง 003 อยํ วุจฺจตานนฺท ดูก่อนอานนท์ อันนี้ [เรา] กล่าว 004 สพฺพสงฺขาเรสุ อนิจฺจสญฺา ว่า สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญา. 005 ๑๐. กตมา จานินท ดูก่อนอานนท์ อานาปานสติ เป็น 006 อานาปานสฺสติ ไฉนเล่า ? 007 อิธานนฺท ภิกฺขุ ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 008 อรญฺคโต วา ไปที่ป่าก็ตาม 009 รุกฺขมูลคโต วา ไปที่โคนไม้ก็ตาม 010 สุญฺาคารคโต วา ไปที่เรือนว่างเปล่าก็ตาม 011 นิสีทติ ปลฺลงฺกํ อาภุชิตฺวา นั่งคู้บัลลังก์ [คือขัดสมาธิ] 012 อุชุํ กายํ ปณิธาย ปริมุขํ ตั้งกายให้ตรง ดำรงสติไว้มั่น 013 สตึ อุปฏฺ€เปตฺวา เฉพาะหน้า 014 โส สโตว อสฺสสติ เธอย่อมมีสติหายใจออก 015 สโต ปสฺสสติ ย่อมมีสติหายใจเข้า. 016 ที่ ๑. ฑีฆํ วา อสฺสสนฺโต หรือเมื่อหายใจอกยาว ก็รู้ชัดว่า 017 ทีฆํ อสฺสสามีติ ปชานาติ บัดนี้เราหายใจออกยาว 018 ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ทีฆํ หรือเมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า 019 ปสฺสสามีตี ปชานาติ เราหายใจเข้ายาว [นี่เป็นหมวด 020 ที ๑] 001 รสฺสํ วา อสฺสสนฺโต รสฺสํ หรือเมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า 002 อสฺสสามีติ ปชานาติ เราหายใจออกสั้น 003 รสฺสํ วา ปสฺสสนฺโต รสฺสํ หรือเมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่าเรา 004 ปสฺสสามีติ ปชานาติ หายใจเข้าสั้น [นี่เป็นหมวดที่ ๒] 005 สพฺพกายปฏฺสํเวที ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 006 อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ กำหนดรู้กายทั้งหมดหายใจออก 007 สพฺพกายปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺ- ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 008 สามีติ สิกฺขติ กำหนดรู้กายทั้งหมดหายใจเข้า 009 [นี่เป็นหมวดที่ ๓] 010 ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ อสฺสสิสฺ- ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 011 สามีติ สิกฺขติ ระงับกายสังขารหายใจออก 012 ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 013 ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ระงับกายสังขาร หายใจเข้า [นี่เป็น 014 หมวดที่ ๔] ใน ๔ หมวดนี้กล่าว 015 ด้วยกายานุปัสสนาสติปัฏฐานเพราะ 016 ลมหายใจเป็นส่วนกาย. 017 ที่ ๒. ปีติปฏิสํเวที ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 018 อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ กำหนดรู้ปีติ [คือความอิ่มกาย 019 อิ่มใจ] หายใจออก 001 ปีติปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 002 สิกฺขติ กำหนดรู้ปีติ หายใจเข้า [ใน ๒ 003 ข้อนี้ ประสงค์ผู้ที่ได้ปฐมฌาน 004 ทุติยฌานซึ่งประกอบด้วยปีติ นี่เป็น 005 หมวดที่ ๕] 006 สุขปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสมีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 007 สิกฺขติ กำหนดรู้สุข [คือความสุขกาย 008 สุขจิต] หายใจออก 009 สุขปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 010 สิกฺขติ กำหนดรู้สุข หายใจเข้า [ใน ๒ ข้อนี้ 011 ประสงค์ผู้ที่ได้ปฐมฌาน ทุติยฌาน 012 ตติยฌาน ซึ่งประกอบด้วยสุข 013 นี่เป็นหมวดที่ ๖] 014 จิตฺตสงฺขารปฏฺสํเวที ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 015 อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ กำหนดรู้จิตตสังขารหายใจออก 016 จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 017 ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ กำหนดรู้จิตตสังขารหายใจเข้า [นี่ 018 เป็นหมวดที่ ๗] 019 ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ ย่อสำเหนียกว่า เราจักระงับ 020 อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ จิตตสังขารหายใจออก 001 ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับ 002 ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ จิตตสังขาร หายใจเข้า [นี่เป็น 003 หมวดที่ ๘] ตั้งแต่หมวดที่ ๕ 004 ถึงหมวดที่ ๘ สี่หมวดนี้ กล่าวด้วย 005 เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน เพราะ 006 ปีติสุขเป็นส่วนเวทนา. 007 ที่ ๓. จิตฺตปฏิสํเวที ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 008 อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ กำหนดรู้จิต หายใจออก 009 จิตฺตปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 010 สิกฺขติ กำหนดรู้จิต หายใจเข้า [นี่เป็น 011 หมวดที่ ๙] 012 อภิปฺปโมทยํ จิตฺตํ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักทำจิตให้ 013 ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ บันเทิง หายใจเข้า [ใน ๒ ข้อนี้ 014 ประสงค์ความบันเทิงจิตด้วยอำนาจ 015 สมถะ นี่เป็นหมวดที่ ๑๐] 016 สมาทหํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักตั้งจิตเป็น 017 สิกฺขติ สมาธิ หายใจออก 001 สมาทหํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักตั้งจิตเป็น 002 สิกฺขติ สมาธิ หายใจเข้า [ใน ๒ ข้อนี้ 003 ประสงค์จิตที่เป็นสมาธิ ด้วยอำนาจ 004 ฌาน นี่เป็นหมวดที่ ๑๑] 005 วิโมจยํ จิตฺตํ อสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเปลื้องจิต 006 สิกฺขติ หายใจออก 007 วิโมจยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเปลื้องจิต 008 สิกฺขติ หายใจเข้า [ใน ๒ ข้อนี้ประสงค์ 009 ความเปลื้องจิตจากนีวรณ์ วิตก 010 วิจาร ปีติ และสุขด้วยอำนาจฌาน 011 นั้น ๆ นี่เป็นหมวดที่ ๑๒] ตั้ง 012 แต่หมวดที่ ๙ ถึงหมวดที่ ๑๒ สี่ 013 หมวดนี่กล่าวด้วยจิตตานุปัสสนา 014 สติปัฏฐาน ตั้งแต่หมวดที่ ๑ ถึง 015 หมวดที ๑๒ นี้ว่าด้วยสมถะ. 016 ที่ ๔. อนิจฺจานุปสฺสี ย่อมสำเหนียกว่า เราจักพิจารณา 017 อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ เนือง ๆ ซึ่งความเป็นของไม่เที่ยง 018 ของนามรูป หายใจออก 001 อนิจฺจานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักพิจารณา 002 สิกฺขติ เนือง ซึ่งความเป็นของไม่เที่ยง 003 ของนามรูป หายใจเข้า [นี่เป็น 004 หมวดที่ ๑๓] 005 วิราคานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักพิจารณา 006 สิกฺขติ เนือง ๆ ซึ่งความจางไป คลาย 007 ไปของนามรูป หายใจออก. 008 วิราคานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักพิจารณา 009 สิกฺขติ เนือง ๆ ซึ่งความจางไป คลาย 010 ไปของนามรูป หายใจเข้า [นี่ 011 เป็นหมวดที่ ๑๔] 012 นิโรธานุปสฺสี อสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 013 สิกฺขติ พิจารณาเนือง ๆ ซึ่งความดับไป 014 ของนางรูป หายใจออก. 015 นิโรธานุปสฺสี ปสฺสสิสฺสามีติ ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 016 สิกฺขติ พิจารณาเนือง ๆ ซึ่งความดับไป 017 ของนามรูป หายใจเข้า [นี่เป็น 018 หมวดที่ ๑๕] 019 ปฏินิสิสคฺคานุปสฺสี ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 020 อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ พิจารณาเนือง ๆ ซึ่งความส่งคืน 021 ความถือมั่นในนามรูป หายใจออก 001 ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้ 002 ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ พิจารณาเนือง ๆ ซึ่งความส่งคืน 003 ความถือมั่นในนามรูป หายใจเข้า 004 [นี่เป็นหมวดที่ ๑๖] ตั้งแต่หมวด 005 ที่ ๑๓ ถึงหมวดที่ ๑๖ สี่หมวดนี้ 006 กล่าวด้วยธัมมานุปัสสนาสติปัฏ- 007 ฐาน เพราะนามรูปเป็นธัมมารมณ์ 008 นี่ว่าด้วยวิปัสสนา. 009 อยํ วุจฺจตานนฺท ดูก่อนอานนท์ อันนี้ [เรา] กล่าว 010 อานาปานสฺสติ ว่า อานาปานสติ. 011 สเจ โข ตฺวํ อานนฺท ดูก่อนอานนท์ ถ้าว่าเธอ 012 คิริมานนฺทสฺส ภิกฺขุโน พึงไปหาแล้วแสดงสัญญา ๑๐ ประ- 013 อุปสงฺกมิตฺวา อิมา ทส การเหล่านี้แก่ภิกษุคิริมานนท์ไซร้. 014 สญฺา ภาเสยฺยาสิ 015 €านํ โข ปเนตํ วิชฺชติยํ ข้อนี้เป็นเหตุที่จะให้อาพาธ [ความ 016 คิริมานนฺทสิส ภิกฺขุโน อิมา เจ็บ] ของคิริมานนท์ภิกษุนั้นสงบ 017 ทส สญฺา สุตฺวา โส อาพาโธ ระงับโดยเร็วพลัน เพราะได้ฟัง 018 €านโส ปฏิปฺปสฺสมฺเภยฺย สัญญา ๑๐ ประการเหล่านี้. 019 อถ โข อายสฺมา อานนฺโท ลำดับนั้น พระอานนท์ผู้มีอายุ 020 ภควโต สนฺติเก อิมา ทส เรียนสัญญา ๑๐ ประการเหล่านี้ใน 021 สญฺา อุคฺคเหตฺวา สำนักพระผู้มีพระภาคแล้ว 001 เยนายสฺมา คิริมานนฺโท เข้าไปหาพระคิริมานนท์ผู้มีอายุ 002 เตนุปสงฺกมิ 003 อุปสงฺกมิตฺวา อายสฺมโต ครั้นเข้าไปหาแล้ว ได้แสดงสัญญา 004 คิริมานนฺทสฺส อิมา ทส ๑๐ ประการเหล่านี้แก่พระ คิริมา- 005 สญฺา อภาสิ นนท์ผู้มีอายุ. 006 อถ โข อายสฺมโต คิริมานนฺ- ลำดับนั้น อาพาธ [ความเจ็บ] 007 ทสฺส อิมา ทส สญฺา ของพระคิริมานนท์ผู้มีอายุนั้น ก็ 008 สุตฺวา โส อาพาโธ€านโส สงบระงับไปในทันใด เพราะได้ 009 ปฏิปฺปสฺสมฺภิ ฟังสัญญา ๑๐ ประการเหล่านี้. 010 วุฏฺ€หิ จายสฺมา คิริมานนฺโท พระคิริมานนท์ผู้มีอายุก็หายจาก 011 ตมฺหา อาพาธา อาพาธนั้น. 012 ตถาปหีโน จ ปนายสฺมโต ก็แลอาพาธนั้นเป็นอันพระคิริมา- 013 คิริมานนฺทสฺส โส อาพาโธ นนท์ผู้มีอายุได้ละเสียแล้ว ด้วย 014 อโหสีติ. ประการที่ได้ฟังสัญญา ๑๐ ประการ 015 ที่พระอานนท์แสดงแล้วนั้น ด้วย 016 ประการฉะนี้แล. 017 [คิริมานนฺทสุตฺตปาโ€] 018 จบพระบาลีคิริมานนทสูตร. 001 [นโม แปล] 002 นโม ตสฺส ภควโต ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระ ภาคผู้ 003 อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส. อรหันต์ ตรัสรู้แล้วเองโดยชอบ 004 พระองค์นั้น. 005 [สรณคมน์ แปล] 006 พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็น 007 สรณะ [ที่พึ่ง ที่ระลึก] 008 ธมิมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมว่าเป็นสรณะ. 009 สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ 010 ทุติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็น 011 สรณะ แม้ครั้งที่สอง. 012 ตติยมฺปิ ... แม้ครั้งที่สาม ... [ความนอกนั้น 013 เหมือนกัน]. 014 [สัจจกิริยคาถา แปล] 015 นตฺถิ เม สรณํ อญฺํ สรณะอื่นของข้าพเจ้าไม่มี. 016 พุทฺโธ เม สรณํ วรํ พระพุทธเจ้า เป็นสรณะอันประ- 017 เสริฐของข้าพเจ้า 018 เอเตน สจฺจวชฺเชน ด้วยความกล่าวคำสัตย์นี้ 001 โสตฺถิ เม โหตุ สพฺพทา ขอความสวัสดี ความเจริญ จง 002 มีแก่ข้าพเจ้าในกาลทุกเมื่อ. 003 . . . .ธมฺโม. . . . . . . .พระธรรม. . . . 004 . . . .สงฺโฆ. . . . . . . .พระสงฆ์. . . . 005 [ความนอกนั้นเหมือนกัน]. 006 [มหาการุณิโก แปล] 007 มหาการุณิโก นาโถ พระพุทธเจ้าผู้เป็นที่พึ่ง พระองค์ 008 ทรงประกอบด้วยพระกรุณาอัน 009 ใหญ่ 010 อตฺถาย สพฺพปาณินํ ปูเรตฺวา ทรงบำเพ็ญพระบารมีทั้งสิ้น เพื่อ 011 ปารมี สพฺพา ประโยชน์แก่สัตว์ทั้งปวง 012 ปตฺโต สมฺโพธิมุตฺตมํ ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดมแล้ว 013 เอเตน สจฺจวชฺเชน ด้วยความกล่าวคำสัตย์นี้ 014 มา โหนฺตุ สพฺพุปทฺทวา ขออุปัทวันตรายทั้งปวงจงอย่ามี 015 . . . .หิตาย. . . . . . . . เพื่อเกื้อกูล. . . . 016 . . . .สุขาย. . . . . . . . เพื่อความสุข. . . . 017 [ความนอกนั้นเหมือนกัน]. 018 [ภัทเทกรัตตคาถา แปล] 019 อตีตํ นานฺวาคเมยฺย ผู้มีปัญญาไม่ควรทำสิ่งที่ล่วงไป 020 แล้วให้มาตามอยู่ในจิต 001 นปฺปฏิกงฺเข อนาคตํ ไม่ควรมุ่งหวัง [ปรารถนา] สิ่ง 002 ที่ยังไม่มาถึง. 003 ยทตีตมฺปหีนนฺตํ เพราะว่าสิ่งใดล่วงไปแล้ว [พ้น 004 ไปแล้ว] สิ่งนั้นก็ละเสียแล้ว 005 อปฺปตฺตญฺจ อนาคตํ อนึ่ง สิ่งใดที่ยังไม่มาถึงเล่า สิ่งนั้น 006 ก็ยังไม่ถึง 007 ปจฺจุปฺปนฺนญฺจ โย ธมฺมํ ก็ผู้มีปัญญาใด เห็นธรรมซึ่งเป็น 008 ตตฺถ ตตฺถ วิปสฺสติ ปัจจุบัน [เกิดขึ้นเฉพาะหน้า] 009 แจ้งชัดอยู่ในที่นั้น ๆ 010 อสํหิรํ อสงฺกุปฺปํ [ความเห็นธรรมซึ่งเป็นปัจจุบัน 011 แจ้งชัดของผู้มีปัญญานั้น ๆ] เป็น 012 ความเห็นไม่ง่อนแง่นไม่คลอน- 013 แคลน 014 ตํ วิทฺธามนุพฺรูหเย ผู้มีปัญญานั้นได้เห็นธรรม ซึ่งเป็น 015 ปัจจุบันแจ้งชัดอันไม่ง่อนแง่นไม่ 016 คลอนแคลนนั้นแล้ว ควรเจริญ 017 ความเห็นนั้นไว้ให้เนือง ๆ 018 อชฺเชว กิจฺจมาตปฺปํ ความเพียรเผากิเลส ผู้มีปัญญา 019 ควรรีบทำเสียในวันนี้ทีเดียว 020 โก ชญฺา มรณํ สุเว ใครพึงรู้ว่าความตาย [จะมี] ใน 021 วันพรุ่งนี้ 001 น หิ โน สงฺครนฺเตน เพราะว่าความหน่วงเหนี่ยว [ผ่อน 002 มหาเสเนน มจฺจุนา ผัน] กับด้วยมฤตยู [ความตาย] 003 ซึ่งมีเสนาใหญ่นั้นไม่ได้เลย. 004 เอวํ วิหาวิมาตาปี อโหรตฺตม- นักปราชญ์ผู้สงบระงับย่อมกล่าว 005 ตนฺทิตํ ตํ เว ภทฺเทกรตฺโตติ [สรรเสริญ] ผู้มีปัญญาซึ่งมีธรรม 006 สนฺโต อาจิกฺขเต มุนีติ เป็นเครื่องอยู่ มีความเพียรเผา 007 กิเลสให้เร่าร้อน ไม่เกียจคร้าน 008 [หมั่น] ทั้งวันและคืน อย่างนี้ 009 ผู้นั้นแลว่า ผู้มีราตรีเดียวเจริญ 010 ด้วยประการฉะนี้แล. 011 [ปัพพโตปมสุตตคาถา แปล] 012 ยถาปิ เสลา วิปุลา นภํ แม้ฉันใด ภูเขาทั้งหลายแล้วด้วย 013 อาหจฺจ ปพฺพตา หินอันไพบูล จดท้องฟ้า 014 สมนฺตา อนุปริเยยฺยุํ บด [สัตว์ปาณชาติ] กลิ้งเข้ามา 015 นิปฺโปเถนฺตา จตุทฺทิสา โดยรอบทั้ง ๔ ทิศ 016 เอวํ ชรา จ มจฺจุ จ ฉันนั้น ความแก่และความตาย 017 อธิวตฺตนฺติ ปาณิโน ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลาย 018 ขตฺติเย พฺราหฺมเณ เวสฺเส คือกษัตริย์ พราหมณ์ คนพลเรือน 019 สุทฺเท จณฺฑาลปุกฺกุเส คนไพร่ คนจัณฑาลและคนเท 020 ดอกไม้ 001 น กิญฺจิ ปริวชฺเชติ สพฺพ- มิได้ยกเว้นใคร ๆ เลย ย่อมย่ำยี 002 เมวาภิมทฺทติ สัตว์ทั้งปวงทีเดียว 003 น ตตฺถ หตฺถีนํ ภูมิ รถานํ น ภูมิ [ภาคพื้น] แห่งพลช้าง ย่อม 004 น ปตฺติยา ไม่มีในชราและมรณะนั้น ภูมิแห่ง 005 พลรถ ก็ไม่มี ภูมิแห่งพลทหาร 006 เท้า ก็ไม่มี. 007 น จาปิ มนฺตยุทฺเธน สกฺกา อนึ่ง ไม่มีใครอาจที่จะชำนะ [ชรา 008 เชตุํ ธเนน วา และมรณะนั้น] ได้ด้วยการสู้รบ 009 ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ 010 ตสฺมา หิ ปณฺฑิโต โปโส เพราะฉะนั้นแล บุรุษผู้บัณฑิตมี 011 สมฺปสฺสํ อตฺถมตฺตโน พุทฺเธ ปัญญา เมื่อเห็นประโยชน์ของตน 012 ธมฺเม จ สงฺเฆ จ ธีโร สทฺธํ ควรทำศรัทธา [ความเชื่อ] ให้ 013 นิเวสเย ตั้งมั่นในพระพุทธเจ้าและพระ 014 ธรรมและพระสงฆ์. 015 โย ธมฺมจารี กาเยน วาจาย ผู้ใดประพฤติธรรม [ความชอบ] 016 อุท เจตสา ด้วยกาย ด้วยวาจาหรือด้วยจิต 017 อิเธว นํ ปสํสนฺติ [เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย] ย่อม 018 สรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้นี่แล 019 เปจฺจ สคฺเค ปโมทติ [ผู้นั้น] ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อม 020 ปราโมทย์ [บันเทิง] ในสวรรค์. 001 [อริยธนคาถา แปล] 002 ยสฺส สทฺธา ตถาคเต ศรัทธาของผู้ใดเป็นธรรมชาติไม่ 003 อจลา สุปติฏฺ€ิตา หวั่นไหว ตั้งมั่นดีแล้วในพระ- 004 ตถาคต 005 สีลญฺจ ยสฺส กลฺยาณํ อนึ่ง ศีลของผู้ใดไปจากโทษ 006 อริยกนฺตํ ปสัสิตํ [งาม] เป็นที่ยินดีแห่งพระอริยเจ้า 007 อันบัณฑิตสรรเสริญแล้ว 008 สงฺเฆ ปสาโท ยสฺสตฺถิ อนึ่ง ความเลื่อมในในพระสงฆ์ 009 ย่อมมีแก่ผู้ใด 010 อุชุภูตญฺจ ทสฺสนํ อนึ่ง ทิฏฐิ [ความเห็น] ของผู้ใด 011 เป็นธรรมชาติซื่อตรง 012 อทลิทฺโทติ ตํ อาหุ [นักปราชญ์ทั้งหลาย] ได้กล่าวผู้ 013 นั้นว่าเป็นคนไม่จน 014 อโมฆนฺตสฺส ชีวิตํ ชีวิต [ความเป็นอยู่] ของผู้นั้น 015 ไม่เปล่า [จากประโยชน์] 016 ตสฺมา สทฺธญฺจ สีลญฺจ ปสาทํ เพราะฉะนั้น ผู้มีปัญญาเมื่อมา 017 ธมฺมทสฺสนํ อนุยุญฺเชถ เมธาวี ระลึกถึงพระพุทธศาสนา [คำสั่ง- 018 สรํ พุทฺธานสาสนนฺติ สอน] ของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย 019 ควรประกอบศรัทธาและศีลและ 020 ความเลื่อมใสและความเห็นธรรม 021 ไว้ให้เนือง ๆ ด้วยประการฉะนี้แล.