ศัพท์การพัฒนาระบบราชการ (Public Sector Development Glossary)

วันที่เอกสารถูกสร้าง: 
04/12/2007
ที่มา: 
กรมศิลปากร กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กฎกระทรวงวัฒนธรรม

ศัพท์การพัฒนาระบบราชการ (Public Sector Development Glossary)

 

ที่

ศัพท์ ศัพท์บัญญัติ

 accountability  ภาระรับผิดชอบ  การมีภาระรับผิดชอบ
 action learning  การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง  
 adhocracy  องค์การเฉพาะกิจ  ระบบบริหารเฉพาะกิจ
 agenda  ระเบียบวาระ, วาระ  
 area-function-participation  พื้นที่-ภารกิจ-การมีส่วนร่วม  พื้นที่-ภารกิจ, หน้าที่-การมีส่วนร่วม
 autonomy  อัตตาณัติ, ความเป็นอิสระ (ในการ ปกครองตนเอง)  ความมีอิสระในการบริหารงาน, ความมีอิสระในการดำเนินงาน
 balanced scorecard  เครื่องมือประเมินผลการปฏิบัติงาน  บัตรคะแนนความสมดุล
 benchmarking  การทำเกณฑ์เทียบ  การทำเกณฑ์เปรียบเทียบ
 best practice  แนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด, วิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุด  แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด
๑๐  beyond budgeting  นอกเหนือการงบประมาณ  
๑๑  blueprint for change  รายละเอียดเพื่อการเปลี่ยนแปลง  แบบรายละเอียดเพื่อการ เปลี่ยนแปลง
๑๒  call center  ศูนย์รับเรื่อง  
๑๓  capacity building  การสร้างขีดความสามารถ  การสร้างวิสัยสามารถ
๑๔  capital charge  ค่าภาระฝ่ายทุน  
๑๕  change management  การบริหารด้านการเปลี่ยนแปลง  การบริหารการเปลี่ยนแปลง
๑๖  Chief Change Officer (CCO)  ผู้บริหารด้านการเปลี่ยนแปลง  ผู้บริหารสูงสุดด้านการเปลี่ยนแปลง
๑๗  Chief Executive Oficer (CEO)  ผู้บริหารสูงสุด  ประธานคณะผู้บริหาร, ผู้บริหาร สูงสุด, ประธานบริหาร
๑๘  Chief Financial Officer (CFO)  ผู้บริหารด้านการเงิน  ผู้บริหารสูงสุดด้านการเงิน
๑๙  Chief Information Officer (CIO)  ผู้บริหารด้านสารสนเทศ  ผู้บริหารสูงสุดด้านระบบสารสนเทศ
๒๐  Chief Knowledge Officer (CKO)  ผู้บริหารด้านความรู้  ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการ ความรู้
๒๑  cluster  กลุ่มภารกิจ, กลุ่ม  
๒๒  code of conduct  จรรยาบรรณ  
๒๓  commission  คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, คณะมนตรี  
๒๔  committee  คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ  
๒๕  competency  ความสามารถ  สมรรถนะ
๒๖  consolidation  การรวมเข้าเป็นหน่วยงานเดียวกัน  ๑. การรวมกิจการ
 
๒. การรวมเป็นปึกแผ่น
๒๗  consortium  กลุ่มรวมธุรกิจ  กลุ่มธุรกิจสัมพันธ์
๒๘  contestability  ภาวะการแข่งกันกันได้  การเปิดให้มีการแข่งขันจากบุคคลภายนอก
๒๙  contract out  หน่วยงานอื่นเข้ามารับช่วงดำเนินงานแทนการว่าจ้างให้รับงาน  การว่าจ้างบริษัทหรือหน่วยงานอื่นเข้ามารับช่วงดำเนินงานแทน
๓๐  cooptation  การเลือกเข้ามาเป็นสมาชิก  
๓๑  core competencies  ความสามารถหลัก  สมรรถนะหลัก
๓๒  core value  ค่านิยมหลัก  
๓๓  corporatization  การแปรสภาพกิจการให้อยู่ในรูปของบริษัท  
๓๔  corruption  การทุจริต, การฉ้อราษฎร์บังหลวง  
๓๕  critical success factor  ปัจจัยแห่งความสำเร็จ  ปัจจัยกำหนดความสำเร็จ
๓๖  democratization  การทำให้เป็นประชาธิปไตย  
๓๗  devolution of centralized power (control)  การมอบอำนาจปกครองจาก ส่วนกลาง  การกระจายอำนาจจากส่วนกลาง
๓๘  e-government  รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์  
๓๙  empowerment  การให้อำนาจ(แก่ประชาชน)  
๔๐  enabling factors  ปัจจัยเอื้ออำนวย  
๔๑  ethics  จริยศาสตร์  จริยธรรม
๔๒  flat organization  องค์กรแนวราบ  
๔๓  good governance  การจัดการบริหารที่ดี, วิธีการปกครองที่ดี  
๔๔  governance  วิธีการปกครอง  การจัดการบริหาร, วิธีการปกครอง
๔๕  government counter service  หน่วยรัฐบริการ  หน่วยบริการประชาชน
๔๖  Government Financial Management Information System (GFMIS)  ระบบการบริหารข้อมูลทางการเงินภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์  
๔๗  hierarchical organization  องค์กรแนวดิ่ง  องค์กรที่ยึดโครงสร้างสายบังคับบัญชาแนวดิ่ง
๔๘  hollywood model  ตัวแบบฮอลลีวูด  ทีมงานลักษณะพิเศษ
๔๙  hub  ศูนย์กลาง  
๕๐  human capital  ทุนด้านมนุษย์  
๕๑  hybrid organization  องค์การรูปแบบผสม  
๕๒  individual scorecard  การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล  บัตรคะแนนเป็นรายบุคคล
๕๓  initiatives  ข้อริเริ่ม, ความริเริ่ม, ความคิดริเริ่ม ในการเสนอร่างกฎหมายโดย ประชาชน  การริเริ่ม, ความริเริ่ม
๕๔  inside-out  -  การริเริ่มจากมุมมองภายใน
๕๕  intangible assets  สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน  
๕๖  integrity  ความมีศักดิ์ศรี, ความซื่อสัตย์สุจริต  ความซื่อสัตย์สุจริต
๕๗  intellectual capital  ทุนทางปัญญา  
๕๘  intergovernmental relations  ความสัมพันธ์ระหว่างราชการบริหารส่วนต่าง ๆ  ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหาร ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น
๕๙  intersectoral management  การบริหารงานระหว่างภาคส่วน  การบริหารงานระหว่างภาคส่วน (ภาคเอกชน, ภาคประชาสังคม)
๖๐  Key Performance Indicator (KPI)  ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน  
๖๑  knowledge worker  ผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ความสามารถ  
๖๒  lay board  คณะกรรมการภาคประชาชน  
๖๓  logistics  การส่งกำลังบำรุง, การจัดระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน  การจัดระบบสายการดำเนินงาน
๖๔  managerial flexibility  ความคล่องตัวด้านการจัดการ  
๖๕  managerialism  คตินิยมการจัดการ  
๖๖  managerialization  การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการ  การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการ
๖๗  mapping  การทำผัง  การทำแผนผัง
๖๘  marketization  การปรับเข้าสู่กลไกตลาด  
๖๙  matrix organization  องค์การแบบเมทริกซ์  การจัดองค์การแม่แบบ
๗๐  matrix reporting  การรายงานแบบเมทริกซ์  การรายงานแบบไขว้
๗๑  Ministry Operations Center (MOC)  ศูนย์ปฏิบัติการระดับกระทรวง  
๗๒  mission statement  ข้อความตามภารกิจ  
๗๓  morality  ความมีศีลธรรม, ศีลธรรม  
๗๔  New Public Management (NPM)  การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่  
๗๕  outside-in    การริเริ่มจากมุมมองภายนอก
๗๖  outsourcing  การให้หน่วยงานภายนอกทำงานให้  การให้หน่วยงานภายนอกทำงานให้
๗๗  participatory state  รัฐภาคี  ประชารัฐ
๗๘  performance  การกระทำ, ผลการดำเนินงาน  การปฏิบัติงาน, การกระทำการ
๗๙  performance management  การจัดการผลการดำเนินงาน  การจัดการปฏิบัติงาน
๘๐  performance measurement  การวัดผลการดำเนินงาน  การวัดผลการปฏิบัติงาน
๘๑  performance related pay  การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงาน  การจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน
๘๒  positioning  การวางตำแหน่ง  
๘๓  Prime Minister Operations Center (PMOC)  ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี  
๘๔  privatization  ๑. การโอนกิจการของรัฐเป็นของ เอกชน
 
๒. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
 ๑. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
 
๒. การแปรรูปองค์กร
๘๕  process redesign  การออกแบบกระบวนการใหม่  
๘๖  productivity  ผลิตภาพ  
๘๗  Provincial Operations Center (POC)  ศูนย์ปฏิบัติการระดับจังหวัด  
๘๘  public agencies  หน่วยงานภาครัฐ  
๘๙  public consultation  การปรึกษามหาชน  ประชาปรึกษา
๙๐  Regional Operating Center(ROC)  ศูนย์ปฏิบัติการระดับภูมิภาค  ศูนย์ปฏิบัติการร่วมกลุ่มจังหวัด
๙๑  relevance  รู้ปรับให้เท่าทันสังคม  รู้ทันโลกปรับตัวทันโลกทันสังคม
๙๒  result  ผลลัพธ์  
๙๓  result-based management  การจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์  
๙๔  scenario  สถานการณ์ที่น่าจะเกิดขึ้น  ภาพที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (จากการพยากรณ์ภายใต้สถานการณ์ แวดล้อมและข้อสมมุติ)
๙๕  service delivery  การให้บริการสาธารณะ  
๙๖  service link  ศูนย์บริการร่วม  
๙๗  stakeholders  ผู้มีส่วนได้เสีย  
๙๘  stewardship  ความสำนึกในงานบริการ  การเป็นผู้จัดการดูแล
๙๙  strategic issue  ประเด็นยุทธศาสตร์  
๑๐๐  strategic partners  พันธมิตรทางยุทธศาสตร์  หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์
๑๐๑  strategic readiness  ความพร้อมเชิงยุทธศาสตร์  
๑๐๒  strategy  กลยุทธ์, ยุทธศาสตร์  
๑๐๓  strategy map  ผังยุทธศาสตร์  แผนที่ยุทธศาสตร์
๑๐๔  supply chain  ห่วงโซ่อุปทาน  
๑๐๕  synchronization  การประสานเชื่อมโยงเข้ากัน  
๑๐๖  synergy  การผนึกกำลัง  
๑๐๗  talent management  การจัดการเชิงอัจฉริยภาพ  การจัดการเชิงปัญญา
๑๐๘  template  แม่แบบ  
๑๐๙  Total Quality Management (TQM)  การจัดการคุณภาพโดยรวม  
๑๑๐  value added  มูลค่าเพิ่ม  
๑๑๑  value creation  การสร้างมูลค่า  
๑๑๒  value for money  ความคุ้มค่าของเงิน  
๑๑๓  virtual organization  องค์การเสมือนจริง  
๑๑๔  work force  กำลังแรงงาน  
๑๑๕  yield  ผลได้, ผลตอบแทน  

 

   ใช้ทางรัฐศาสตร์

   ใช้ทางเศรษฐศาสตร์   คณะกรรมการทั้งสองคณะมีความเห็นตรงกัน

ที่มา : http://www.pasuonline.net