วันที่เอกสารถูกสร้าง: 
27/04/2009
ที่มา: 
เว็บไซต์ฅนไทยดอทคอม http://www.khonthai.com/Vitithai/C5.HTML

    ผ้าฝ้ายมัดหมี่ ลายไทยโคมห้า
Thai-Khom Ha Pattern Mud-Mee cloth


ราษฎรบ้านไผ่หูช้างเป็นชาวไทยเชื้อสายโซ่งหรือไทยทรงดำ มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในประเทศลาว อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในจังหวัดนครปฐมในสมัยรัชกาลที่ 2 สืบสานการทอผ้าไว้ ลักษณะของผ้าที่ทอส่วนใหญ่ จะเป็นผ้าพื้นสีดำ มีชื่อเรียกว่า ผ้าทอไผ่หูช้าง ตำบลไผ่หูช้าง อำเภอบางเลน ส่วนราษฎรดอนทองเดิมประกอบ อาชีพทางด้านเกษตรกรรมและรับจ้าง ในปี พ.ศ. 2538 ได้รวมกลุ่มทอผ้าเพื่อ เป็นอาชีพเสริม ซึ่งสตรีในหมู่ บ้านมีพื้นฐานความเชี่ยวชาญและความรู้การทอผ้าพื้นเมือง จึงเกิดผ้าทอ "ลายแตงโม" ขึ้น และยังมีการทอผ้า มัดหมี่ และผ้าพื้นอีกด้วย

    Nakhon Pathom

vilagers at Ban Pai Hoo Chang were originally Thai-Saong of Thai-Songdam, originally residing in Laos, Who later immigrated to this area during the reign of King Rama II. These villagers weave their cloth with a unique characteristic, block background, call "Pai Hoo Chang woven cloth" at Pai Hoo Chang Sub-district in Bang Len District but their weaving was seasonal, undertaken only when the fields did not need to be worked. In B.E. 2538, the Don-Thongderm villagers formed a weaving group to produce fabric as their secondary occupation. These women, who already had skills in weaving, created an amazing textile pattern called Tang-Mo (watermelon) including Mud-Mee and Plain cloth.

กลับไปยังหน้ารวม link ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผ้าไทยทั้งสี่ภูมิภาค