เทคนิคการทอผ้าแบบยกมุก (2) ผ้ายกมุกไทยวน

วันที่เอกสารถูกสร้าง: 
29/07/2008
ที่มา: 
พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร http://www.thaitextilemuseum.com

เทคนิคการทอผ้าแบบยกมุก (2)

ลายยกมุก ที่พบแปลกออกไปจากผ้ายกมุกของไทยวนส่วนใหญ่คือ ผ้ายกมุกไทยวน
จังหวัดอุตรดิตถ์ เรียกว่า ลายมุกเต้น ซึ่งเป็นลายขีดปะง่ายๆ

 

 

 

 

 

 

ประเภทผ้า
- ผ้ายกมุก
- ผ้าซิ่นมุกไทยวน อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
- เส้นยืน ฝ้ายสีดำ
- เส้นยืนพิเศษ ฝ้ายสีเขียว
- เส้นพุ่ง ฝ้ายสีดำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ประเภทผ้า
- ผ้ายกมุก
- ผ้าซิ่นมุกไทยวน อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
- ลายมุกเต้น
- เส้นยืน ฝ้ายสีดำ สีเขียวควบสีดำ
- เส้นยืนพิเศษ ฝ้ายสีเหลือง
- เส้นพุ่ง ฝ้ายสีดำ

 

 

 

 

 

 

 

ส่วนผ้ายกมุกของไทยวนอำเภอลอง จังหวัดแพร่ มีเอกลักษณ์พิเศษที่ลายมุกจะมีขอบลายด้านข้าง แต่ส่วนของช่วงลายยกมุก ยังคงใช้พื้นสีดำเหมือนกับผ้ายกมุกทั่วไป ทอเพื่อใช้เป็น ผ้าซิ่นมุก และทำส่วนตัวซิ่นของผ้าซิ่นตีนจก เหมือนกับกลุ่มไทยวนอื่นๆ

 

 

 

 

 

 

ประเภทผ้า
- ผ้ายกมุก
- ผ้าซิ่นมุกไทยวน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
- เส้นยืน ฝ้ายสีแดง สีดำ และสีขาว
- เส้นพุ่งพิเศษ ฝ้ายสีเขียว
- เส้นพุ่ง ฝ้ายสีดำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


 

 ประเภทผ้า
- ผ้ายกมุก
- ผ้าซิ่นมุกไทยวน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
- เส้นยืน ฝ้ายสีแดง สีดำ และสีขาว
- เส้นพุ่งพิเศษ ฝ้ายสีเขียว
- เส้นพุ่ง ฝ้ายสีดำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ต้นฉบับ: http://www.thaitextilemuseum.com/HOME/NaNa_august2006/Pha_Yok_Muk/Pha_Yo...