สถาปัตยกรรมเรือนกาแลล้านนา เรื่อง "แป / แปป้าง" (ไทย-แป ล้านนา-แป๋)

วันที่เอกสารถูกสร้าง: 
01/11/2008
ที่มา: 
สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ http://art-culture.chiangmai.ac.th/

สถาปัตยกรรมเรือนกาแล เรื่อง "แป / แปป้าง" (ไทย-แป ล้านนา-แป๋)


แป(แป๋) และแป(แป๋)ป้าง เป็นไม้เหลี่ยม ขนาดเท่าๆกับขื่อ แต่เรือนบางหลังจะใช้ไม้ขนาดหนากว่าขื่อ ส่วนใหญ่ใช้ไม้สัก

แปหัวเสา วางตามแนวยาวของเรือน โดยวางทับบนขื่อ ส่วนที่ซ้อนกันจะบาก เพื่อให้แปหัวเสาและขื่ออมกันได้พอดี และขณะเดียวกันจะมีรูตรงกลาง เพื่อให้หัวเทียนของเสาลอดผ่าน แปหัวเสา จึงต้องเจาะรูและบากเป็นระยะๆ ตรงตำแหน่งของเสา ทำหน้าที่ยึดหัวเสาระหว่างห้อง และรับน้ำหนักของหลังคา และช่วยเป็นส่วนหยุดของฝาตอนบน ด้านยาวของเรือนอีกด้วย

ข้อมูลโดย: เศรษฐศิลป์  อินถาบุตร
และนักศึกษาสาขาสื่อและการผลิตสื่อ 2549

ขอบคุณข้อมูลจาก  สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อมูลต้นฉบับ :  http://art-culture.chiangmai.ac.th/museum/06.php


สถาปัตยกรรมเรือนกาแลล้านนา

1. แวง   
2. ต๋ง   
3. พื้นเรือน/ไม้แป้นต้อง   
4. ขื่อ  
5. แป๋-แป๋ป้าง   
6. ดั้ง/ดั้งแขวน/ใบดั้ง   
7. ตั้งโย้   
8. แป๋จ๋อง  
9. ก้าบ   
10. ก๋อน   
11. ไม้กั้นฝ้า  
12. แป๋ลอย  
13. น้ำย้อย  
14. ยาง  
15. ยางก้ำ   
16. ตะพานหนู  
17. ไม้ตะเฆ้ 
18. ก๋อนก้อย  
19. ขั้วหย่าง  
20. ควั่น  
21. แหนบ 
22. ไขรา  
23. ปั้นลม   
24. หลังคา   
25. รางริน   
26. ฝา

ข้อมูลโดย นักศึกษาสาขาวิชาสื่อศิลปะและการผลิตสื่อ 2549 และคุณเศรษฐศิลป์ อินถาบุตร (ผู้ให้ข้อมูล)

พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณ สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่