พลิกนิดเดียว- พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก
คำนำ |
หนังสือพลิกนิดเดียว พิมพ์ขึ้นครั้งแรกเพื่อแจกเป็นธรรมทาน ในงานกฐินของสำนักสงฆ์สุนันทวนาราม ประจำปี 2535 และได้มีการจัดลำดับเรื่องใหม่ในการพิมพ์ครั้งที่ 3 เมื่อเดือนมกราคม 2539 พร้อมกับได้นำจดหมายที่พระอาจารย์ตอบโยม 2 ฉบับ มาลงพิมพ์ไว้ด้วย โดยได้นำเอาปกิณกะธรรมซึ่งเป็นธรรมะที่พระอาจารย์เทศน์โปรดโยมคนหนึ่ง อันเป็นส่วนหนึ่งของธรรมะในหนังสือธรรมประทาน ที่คณะกรรมการจัดงานร่วมใจภาวนาถวายพระราชกุศล ได้พิมพ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2530 มาไว้เป็นชุดแรก ตามด้วยพระอาจารย์ตอบจดหมายโยม และพระธรรมเทศนา ณ สำนักสงฆ์สุนันทวนาราม ในพรรษาปี พ.ศ. 2535 จบด้วย การปฏิบัติยามเช้าเมื่อตื่นนอน การทำสมาธิ และกลางคืน-ก่อนเข้านอน หวังว่าท่านจะได้รับประโยชน์จากข้อธรรมะในหนังสือเล่มนี้ตามควร มูลนิธิมายา โคตมี |
ชีวิตสมบูรณ์แล้วทุกประการตามเหตุปัจจัย |
เหตุดี ผลก็ดี เหตุไม่ดี ผลก็ไม่ดี
วันนี้เราอาจจะไม่มีอะไรจะเสียใจแล้ว
โลกนี้สมบูรณ์ด้วยกรรม
|
.........................
|
คั้นส้ม กวาดบ้าน ฯลฯ ให้เป็นสัมมาทิฏฐิ |
ยังคิดไม่ถูก ยังคิดไม่เป็น ยังไม่เป็นสัมมาทิฏฐิ
ขณะที่กวาดบ้าน การกวาดบ้านเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดในโลก
การคั้นส้มก็ดี การกวาดบ้านก็ดี การทำกับข้าวก็ดี
อย่าคิดว่าทำให้คนอื่น
|
.........................
|
ทุกข์ |
"เคยทุกข์แทบจะตายไหม" ท่านอาจารย์ถาม
เห็นว่าความทุกข์ก็ดี ความหดหู่ก็ดี เป็นสักแต่ว่าความรู้สึกเท่านั้น
อาศัยความอดทน อดกลั้น ยกจิตขึ้นสู่อารมณ์วิปัสสนา
แขกมาหา จะไล่เขาไปก็ไม่ได้ เดี๋ยวเขาจะโกรธเอา
ให้เอาทุกข์เป็นอาจารย์
ตัณหา อุปาทาน นี่แหละ ทำให้เป็นทุกข์
ทุกข์เท่านั้นเกิดขึ้น
สัพเพ ธัมมา นาลัง อภินิเวสายะ
อย่าคิดว่าเราทุกข์
ถ้าเรายังเป็นทุกข์ ก็ยังใช้ไม่ได้ ยังผิดอยู่
นั่นแหละ พระพุทธเจ้าอยู่ที่นี่เอง
|
.........................
|
ธรรมะอยู่ที่ 50 : 50 |
ถ้าคิดว่า "เขาทำผิด" "เขาไม่ควรทำอย่างนี้"
ใครเล่าว่า "คนนั้นเขานินทาเราอย่างนั้นอย่างนี้" "คนนั้นเขาเป็นอย่างนั้นอย่างนี้"
อย่าไปทำตามคำพูด ความคิดของใครๆ ทั้งหมดทันที
แม้แต่ความคิดของเราเองก็อย่าเชื่อ 100%
สรุปว่า อย่าเชื่อทั้งตัวเรา ตัวเขา อย่าเชื่อทั้งสุข และทุกข์ 100%
|
.........................
|
เขานินทาเรา |
เขานินทาเรา ด่าเรา เขาแย่งของเราไป ฯลฯ
ใครเขานินทาเราก็ไม่สำคัญ เขาทำอะไรๆ เราก็ไม่สำคัญ สำคัญที่ใจเรา
|
.........................
|
|
เรามาทำความรู้จักกับ “ความไม่สงบ” กันเถิด |
พระธรรมเทศนาในพรรษาปี พ.ศ. 2535
|
||||||||||||
................... ปุถุชนคนธรรมดาที่ยังไม่ได้ฝึกอบรมจิตหรือผู้มาใหม่ที่เพิ่งเริ่มฝึกอบรม
พอเราเริ่มปฏิบัติเห็นความไม่สงบ เราก็ตกใจ
กิเลสตัณหา ความโลภ ความโกรธ ความหลง คือมูลเหตุของความไม่สงบ
1. กามฉันทะ คือ ความรักใคร่พอใจในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
ฉะนั้นผู้ปฏิบัติควรทำความเข้าใจว่านิวรณธรรม หรือนิวรณ์ 5 นี้
ผู้ปฏิบัติใหม่ต้องเข้าใจว่า
ครูบาอาจารย์ท่านมักจะพูด ให้เข้าใจง่ายๆ ว่า
โดยทั่วๆ ไป ถ้าเราถามว่าเราปฏิบัติธรรมเพื่ออะไร
เมื่อเกิดสมาธิแล้ว ความสงบเบื้องกลางก็จะปรากฏแก่เรา
แต่ผู้ปฏิบัติไม่ควรกังวลใจว่า
ต่อไปนี้เรามาดูว่า เราจะปฏิบัติกับความไม่สงบอย่างไร
เมื่อรู้เช่นนี้ ก็เริ่มยอมรับและเริ่มศึกษาความไม่สงบได้ ความไม่สงบมีอยู่ในกมลสันดานของปุถุชนเราๆ ทั่วๆ ไปเป็นปกติ
เมื่อความไม่สงบเกิดขึ้น ให้ยกขึ้นพิจารณาเป็นธรรมะ
ธรรมะสักแต่ว่าธรรมะ
แม้แต่พระอริยบุคคลขั้นต้น อกุศลาธรรมาก็ยังมี เป็นธรรมดา
บางครั้งมีอาหารที่ถูกปากอร่อย ก็พยายามทำใจสงบ
ใจก็เหมือนกัน อารมณ์ที่ไม่สงบกำลังปรากฏอยู่ ปกติพอเกิดความไม่สงบเราจะเกิดโทสะ อาฆาตพยาบาท ทำใจให้เป็นกลางๆ เมตตาตัวเองให้มากๆ เราก็อยู่กับนิวรณธรรมอย่างนี้มาตลอด เพราะฉะนั้น เราต้องใช้สติปัญญา หาทางแยกกันอย่างสันติโดยไม่ทะเลาะกัน
ความไม่สงบก็เหมือนกัน
แล้วพยายามปฏิบัติของเราไปเรื่อยๆ เอาสติดูความไม่สงบ
|
||||||||||||
.........................
|