ค้นหา
เมนู
- หน้าหลัก
- หมวดหมู่
- ภัยพิบัติ (65)
- ธรรมชาติ (286)
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (172)
- สังคม (2814)
- วัฒนธรรม (3270)
- ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรม (19)
- ชาติพันธุ์ (531)
- ประเพณี (780)
- ภูมิปัญญาไทย (1652)
- เครือข่ายทางวัฒนธรรม (204)
- วัฒนธรรมหลวง (17)
- เนื้อหาวัฒนธรรมรอจัดหมวด (0)
- ศิลปะและการบันเทิง (699)
- ศาสนาและจิตวิญญาณ (7090)
- เนื้อหารอจัดหมวด (26)
- ค้นหาชั้นสูง
- บริจาคเนื้อหา
- เกี่ยวกับโครงการ
ล็อกอิน
หน้าแรก › หมวดหมู่ › วัฒนธรรม (3270) › ภูมิปัญญาไทย (1652) › การละเล่นพื้นบ้านและนาฏศิลป์ (381) › การละเล่นพื้นบ้าน (141) ›
การละเล่นพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ลูกสะบ้า
เขียนโดย njoy เมื่อ เสาร์, 12/13/2008 - 20:11. | in
วันที่เอกสารถูกสร้าง:
13/12/2008
ที่มา:
ประเพณีไทยดอทคอม http://www.prapayneethai.com/
ลูกสะบ้า
ภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จังหวัด ศรีสะเกษ
- อุปกรณ์
ใช้ลูกสะบ้าประมาณ ๓๐ ลูก เป็นลูกที่ใช้ตั้งฝ่ายละ ๕ ลูก ใช้เป็นลูกโยนฝ่ายละ ๑๐ ลูก คนเล่นฝ่ายละ ๕-๗ คน
- วิธีการเล่น
๑ แบ่งคนเล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย แล้วตั้งลูกสะบ้าไว้ฝ่ายละ ๕ ลูก
๒. แต่ละฝ่ายจะอยู่ห่างกันประมาณ ๑๐-๑๕ เมตร มีลูกสะบ้าสำหรับโยน ๑๐ ลูก
๓. ตกลงกันว่าจะให้ฝ่ายใดเริ่มโยนก่อน
๔. การสิ้นสุดการเล่นฝ่ายใดโยนล้มหมดทุกลูกจะเป็นฝ่ายชนะ
๕. ฝ่ายที่แพ้จะถูกเคาะหัวเข่า (เขกเข่า) ด้วยลูกสะบ้า
- โอกาสหรือเวลาที่เล่น
นิยมเล่นในงานประเพณีสงกรานต์ หรือ งานเทศกาลรื่นเริงในหมู่บ้าน เวลากลางวัน
- สาระ
ผู้เล่นได้รับความสนุกสนานสร้างเสริมความสามัคคีในหมู่คณะรักพวกพ้อง รู้จักคิดหาวิธีช่วยเหลือกันและมีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้จักแพ้ รู้จักชนะ รู้จักอภัย