สถาปัตยกรรมเรือนกาแล เรื่อง "แปลอย" (อ่าน แป๋ลอย)

วันที่เอกสารถูกสร้าง: 
01/11/2008
ที่มา: 
สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ http://art-culture.chiangmai.ac.th/

สถาปัตยกรรมเรือนกาแล เรื่อง "แปลอย" (อ่าน แป๋ลอย)

  


แป๋(แป)ลอย ตัวล่างสุดของหลังคา ซึ่งอยู่ใกล้ชายคาห่างเชิงชายออกไป เป็นไม้ที่มีความยาวตลอดความยาวของหลังคามีลักษณะลอยตัว ซ้อนรับกอน(ก๋อน) แต่เรือนกาแลบางหลังมี "ปีกยาง" หรือ "เต้า" ยื่นออกมาจากเสามารับน้ำหนักแป๋(แป)ลอยอีกต่อหนึ่ง

แป๋ลอยหน้าที่คล้ายไม้เชิงกลอนของเรือนไทยเดิมภาคกลาง ซึ่งอยู่ติดกับชายคาของเรือนกาแลเกือบทุกหลัง ใช้แป(แป๋)ลอยแทนไม้เชิงกลอน

ข้อมูลโดย: เศรษฐศิลป์  อินถาบุตร
และนักศึกษาสาขาวิชาสื่อและการผลิตสื่อ 2549

ขอบคุณข้อมูลจาก  สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อมูลต้นฉบับ : http://art-culture.chiangmai.ac.th/museum/13.php


สถาปัตยกรรมเรือนกาแลล้านนา

1. แวง   
2. ต๋ง   
3. พื้นเรือน/ไม้แป้นต้อง   
4. ขื่อ  
5. แป๋-แป๋ป้าง   
6. ดั้ง/ดั้งแขวน/ใบดั้ง   
7. ตั้งโย้   
8. แป๋จ๋อง  
9. ก้าบ   
10. ก๋อน   
11. ไม้กั้นฝ้า  
12. แป๋ลอย  
13. น้ำย้อย  
14. ยาง  
15. ยางก้ำ   
16. ตะพานหนู  
17. ไม้ตะเฆ้ 
18. ก๋อนก้อย  
19. ขั้วหย่าง  
20. ควั่น  
21. แหนบ 
22. ไขรา  
23. ปั้นลม   
24. หลังคา   
25. รางริน   
26. ฝา

ข้อมูลโดย นักศึกษาสาขาวิชาสื่อศิลปะและการผลิตสื่อ 2549 และคุณเศรษฐศิลป์ อินถาบุตร (ผู้ให้ข้อมูล)

พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณ สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่